วันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2550

Boolaen

'พีชคณิตบูลีน (Boolean Algebra)'
กฎเบื้องต้นทางคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในปี ค.ศ.1847 เพื่อการแก้ปัญหาทางตรรก ต่อมาในปี ค.ศ.1938 เคลาด์ แชนนอน (Claude Shannon)นักวิทยาศาสตร์แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratory) ได้เล็งเห็นประโยชน์ของพีชคณิตบูลีน โดยนำมาใช้ในการวิเคราะห์วงจรเน็ทเวิร์คที่ทำงานต่อกันหลาย ๆ ภาค เช่น วงจรของโทรศัพท์ เป็นต้น เมื่อมีการพัฒนาวงจร คอมพิวเตอร์ขึ้นก็ได้มีการนำเอาพีชคณิตบูลีนมาใช้ใน! การคำนวณ ออกแบบ และอธิบายสภาวะการทำงานของสถานะวงจรภายในระบบคอมพิวเตอร์ โดยพีชคณิตบูลีนเป็นพื้นฐานสำคัญในการออก แบบวงจรตรรกของระบบดิจิตอล
วงจรหรือปิดวงจร เมื่อนำไปใช้ในการออกแบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ก็จะบอกถึงสภาพของวงจรในรูปแบบของเปิดกับปิด โดยมีสถานะการทำงานเป็น 1 เมื่อทำงานหรือ 0 เมื่อไม่ทำงาน ซึ่งตัว เลขดังกล่าวเป็นตัวเลขในระบบของเลขฐานสอง แต่สภาวะที่เป็นวงจรสามารถอธิบายในรูปของวงจรตรรกได้ ทำให้ง่ายต่อการออกแบบและอธิบายการทำงานมากกว่าพีชคณิตทั่วไป
นิยาม (Definition) ตัวคงที่ (Contants) ตัวคงที่มี 2 ตัวคือ 0 และ 1
ตัวแปร (Variables) คือ ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่ใช้แทนการเปลี่ยนแปลงทางโลจิก เช่น A,B,C,F, X,Y,Z ... โดยการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรเหล่านี้จะมีเพียงสองอย่างเท่านั้นคือ 0 หรือ 1เมื่อ A เป็นตัวแปรตัวหนึ่ง แล้วจะได้ว่า
A จะไม่เท่ากับ 0 ถ้า A เท่ากับ 1 เท่านั้น
A จะไม่เท่ากับ 1 ถ้า A เท่ากับ 0 เท่านั้น
ตัวกระทำ (Operators) เป็นตัวที่ทำหน้าที่ใช้ในการกระทำระหว่างตัวคงที่หรือตัวแปรสองตัว โดยตัวกระทำจะมีอยู่ 3 อย่างด้วยกันคือ การแอนด์ (AND Operation)
การออร์ (OR Operation)
การอินเวอร์สหรือนอท (Inverse Operation หรือ NOT)
ตัวกระทำทั้งสามตัวมีความหมายดังต่อไปนี้
ระหว่างตัวแปรทั้งสองตัวเช่น เมื่อ A แอนด์กับ B เขียนแทนด้วย A.B หรือ AB อ่านว่า เอ แอนด์ บี
ภาพ:การแอนด์.jpg ตารางแสดงผลของการแอนด์
ภาพ:ตารางแอนด์.jpg
โดยเขียนอยู่ระหว่างตัวแปรทั้งสองตัวเช่น เมื่อ A ออร์กับ B เขียนแทนด้วย A + B อ่านว่า เอ ออร์ บี
ภาพ:การออร์.jpg
ตารางแสดงผลของการออร์
ภาพ:ตารางออร์.jpg
เปลี่ยนค่าที่เป็น 0 ให้กลายเป็น 1 โดยใช้เครื่องหมาย " ' " เช่น Á อ่านว่า เอ บาร์
ภาพ:การอินเวอร์ส.jpg
ตารางแสดงผลของการอินเวอร์ส
ภาพ:ตารางการอินเวอร์ส.jpg
-Tareku

ไม่มีความคิดเห็น: