วันเสาร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2550


ดู อุทัยธานี ในความหมายอื่นได้ที่ อุทัยธานี (แก้ความกำกวม)

ประวัติเมืองอุทัยธานี
การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ - กิ่งอำเภอ 68 ตำบล 632 หมู่บ้าน

อำเภอเมืองอุทัยธานี
อำเภอทัพทัน
อำเภอสว่างอารมณ์
อำเภอหนองฉาง
อำเภอหนองขาหย่าง
อำเภอบ้านไร่
อำเภอลานสัก
อำเภอห้วยคต หน่วยการปกครอง

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
เมื่อท่านอายุ 13 ปีในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน พ.ศ. 2459 สอบได้เป็นที่ 1ในประเทศได้รับประกาศนียบัตรหมายเลข 1 จากพระหัตถ์ ของรัชกาลที่ 6 และได้รับความไว้วางใจจากพระศรีวิสุทธิวงศ์ (เฮง เขมจารี) ให้เป็นครูสอนภาษาบาลีอีกด้วย
จังหวัดอุทัยธานี เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนา "พระบรมราชวงค์จักรี" ได้สถาปนาพระราชบิดาเป็น "สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก" เมื่อ พ.ศ. 2338

สืบ นาคะเสถียร
หลวงวิจิตรวาทการพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ เป็นนักคิดนักเขียนคนสำคัญของไทย เดิมชื่อ กิมเหลียง วัฒนปฤดา บุตรนายอิน และนางคล้ายเกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ต.สะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก เป็นพระราชบิดาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 "แห่งราชวงค์จักรี" มีพระนามเดิมชื่อ "ทองดี" เป็นบุตร ชายของพระยาราชนิกูล (ทองคำ) ประสูติที่บ้านสะแกกรัง ตำบลสะแกกรัง อำเภอเมืองอุทัยธานี ในสมัยแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ (2251-2275) ได้รับราชการเป็น พระพินิจอักษร และต่อมาได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระอักษรสุนทรสาสน์ มีหน้าที่แต่งราชสาสน์ และท้องตราที่ไปมากับหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทั้งเป็นผู้เก็บรักษาตราพระราชลัญจกร อันเป็นตราของแผ่นดิน พระอักษรสุทรสาสน์ได้แต่งงานกับสตรีงามชื่อ "หยก" (บางแห่งเรียกดาวเรือง) มีบุตร-ธิดา 5 คนคือ
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมเทพสุคาวดี
ขุนรามณรงค์
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท

ไม่มีความคิดเห็น: